ชีววิทยา

เนื้อหาวิชาชีววิทยาที่ต้องเรียนทั้งหมดในระดับมัธยมปลาย

ม. 4

การศึกษาชีววิทยา

  1. ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
  2. การศึกษาชีววิทยาและวิธีการทางวิทยาศาสตร์
  3. กิจกรรมสะเต็มศึกษษและกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต

  1. อะตอม ธาตุและสารประกอบ
  2. น้ำ
  3. สารประกอบคาร์บอนในสิ่งมีชีวิต
  4. ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต

เซลล์และการทำงานของเซลล์

  1. กล้องจุลทรรศน์
  2. โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
  3. การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
  4. การหายใจระดับเซลล์
  5. การแบ่งเซลล์

โครโมโซมและสารพันธุกรรม

  1. โครโมโซม
  2. สารพันธุกรรม
  3. สมบัติของสารพันธุกรรม
  4. มิวเทชัน

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

  1. การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล
  2. ลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล
  3. ยีนบนโครโมโซมเดียวกัน

เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

  1. พันธุวิศวกรรมและการโคลนยีน
  2. การหาขนาดของ DNA และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์
  3. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
  4. เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอกับความปลอดภัยทางชีวภาพและชีวจริยธรรม

วิวัฒนาการ

  1. หลักฐานและข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
  2. แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
  3. พันธุศาสตร์ประชากร
  4. ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล
  5. กำเนิดสปีชีส์

ม. 5

การสืบพันธุ์ของพืชดอก

  1. โครงสร้างของดอกและชนิดของผล
  2. วัฏจักรชีวิตแบบสลับของพืชดอก
  3. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
  4. การใช้ประโยชน์จากโครงสร้างต่าง ๆ ของผลและเมล็ด

โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก

  1. เนื้อเยื่อพืช
  2. โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก
  3. โครงสร้างและการเจริญเติบโตของลำต้น
  4. โครงสร้างและการเจริญเติบโตของใบ

การลำเลียงของพืช

  1. การลำเลียงน้ำ
  2. การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
  3. การลำเลียงธาตุอาหาร
  4. การลำเลียงอาหาร

การสังเคราะห์ด้วยแสง

  1. การศึกษาที่เกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
  2. กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
  3. โฟโตเรสไพเรชัน
  4. การเพิ่มความเข้มข้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
  5. ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง

การควบคุมการเจริญเติบโตและการตอบสนองของพืช

  1. ฮอร์โมนพืช
  2. ปัจจัยที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด
  3. การตอบสนองของพืชในลักษณะการเคลื่อนไหว
  4. การตอบสนองต่อภาวะเครียด

ระบบย่อยอาหาร

  1. การย่อยอาหารของสัตว์
  2. การย่อยอาหารของมนุษย์

ระบบหายใจ

  1. การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์
  2. อวัยวะและโครงสร้างในระบบหายใจของมนุษย์
  3. การแลกเปลี่ยนแก๊สและการลำเลียงแก๊ส
  4. การหายใจ

ระบบหมุนเวียนเลือดและระบบน้ำเหลือง

  1. การลำเลียงสารในร่างกายของสัตว์
  2. การลำเลียงสารในร่างกายของมนุษย์
  3. ระบบน้ำเหลือง

ระบบภูมิคุ้มกัน

  1. กลไกการต่อต้านหรือทำลาสิ่งแปลกปลอม
  2. การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
  3. ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน

ระบบขับถ่าย

  1. การขับถ่ายของสัตว์
  2. การขับถ่ายของมนุษย์
  3. การทำงานของหน่วยไต
  4. ไตกับการรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่าง ๆ ในร่างกาย
  5. ความผิดปกติของระบบขับถ่าย

ม. 6

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก

  1. การรับรู้และการตอบสนองของสัตว์
  2. โครงสร้างและการทำงานของเซลล์ประสาท
  3. ศูนย์ควบคุมระบบประสาทของมนุษย์
  4. การทำงานของระบบประสาท z 
  5. อวัยวะรับความรู้สึก

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต

  1. การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
  2. การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
  3. การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
  4. การเคลื่อนที่ของมนุษย์

ระบบต่อมไร้ท่อ

  1. การทำงานร่วมกันของระบบต่อมไร้ท่อและระบบประสาท
  2. ต่อมไร้ท่อ
  3. ฮอร์โมนและการทำงานของฮอร์โมน
  4. การรักษาสมดุลของฮอร์โมน

ระบบสืบพันธุ์แและการเจริญเติบโต

  1. การสืบพันธุ์ของสัตว์
  2. การสืบพันธุ์ของมนุษย์
  3. การเจริญเติบโตของสัตว์

พฤติกรรมของสัตว์

  1. การศึกษาพฤติกรรมของสัตว์
  2. กลไกการเกิดพฤติกรรม
  3. ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
  4. ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมและวิวัฒนาการของระบบประสาท
  5. การสื่อสารระหว่างสัตว์

ความหลากหลายทางชีวภาพ

  1. ความหลากหลายทางชีวภาพ
  2. ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
  3. การศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

ระบบนิเวศและประชากร

  1. ระบบนิเวศ
  2. ไบโอม
  3. การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
  4. ประชากร

มนุษย์กับความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  1. ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ
  2. การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหาและการจัดการ
  3. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืน
Scroll to Top